- ศมลพรรณ ภู่เล็ก
- 921 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | สารคดีสถาปัตยกรรมเรือนพื้นถิ่นอีสาน เฮือนเกย |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ธาริณี พรรณภักดี |
คำสำคัญ | สถาปัตยกรรมเรือนพื้นถิ่นอีสาน;เฮือนเกย |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ปีที่เผยแพร่ | 2561 |
คำอธิบาย | เรือนที่อาศัยในท้องถิ่นถือเป็นสถาปัตยกรรมที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตของคนในชุมชนนั้นๆเรือนเกย หรือเฮือนเกยถือได้ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่สะท้อนให้ถึงการดำรงชีวิต ความเชื่อ ขนบธรรมเนียบประเพณีของคนอีสาน เรือนมีลักษณะเป็นเรือนถาวรมีขนาดเล็กถึงขนาดกลางประกอบด้วยเรือนนอน เกย และเรือนไฟ โดยแยกเรือนไฟออกมามีชานเชื่อมต่อมีหลังคาคลุม บริเวณเกยใช้รับแขก นอน และใช้ทำกิจกรรมอื่นๆ เรือนนอนประกอบด้วยสามส่วนคือ ห้องพระ ใช้สำหรับบูชาบรรพบุรษ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพนับถือ ห้องนอน และห้องสูทเป็นห้องนอนของลูกสาว ครัวอยู่ทางทิศตะวันตกของบ้านมีลักษณะโครงสร้าง โดยรวมเป็นเสาคาน หลังคาเป็นแป้นเกตุไม้ปัจจุบันนิยมเป็นสังกะสี ผนังใช้ไม้ ลักษณ์ตัวเรือนยกสูง สามารถใช้ประโยชน์จากเรือนยกสูงได้ โดยรอบของตัวเรือนมีเล้าข้าว เล้าข้าวมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตต่อคนในท้องถิ่น |
สาขาการวิจัย |
|
สารคดีสถาปัตยกรรมเรือนพื้นถิ่นอีสาน เฮือนเกย is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.