ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | สถานการณ์และแนวทางบรรเทาผลกระทบจาก Global Dimming กรณีศึกษาประเทศไทย |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ดร. นิกร มหาวัน |
เจ้าของผลงานร่วม | ผศ.ดร. วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ |
คำสำคัญ | สภาวะโลกหลัว;รังสีดวงอาทิตย์;ค่าความหนาเชิงแสงของละอองลอยในบรรยากาศ สิ่งปกคลุมดิน |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | สภาวะการลดลงของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ที่พื้นผิวโลก เรียกว่าสภาวะโลกหลัว ในประเทศไทยไม่พบว่าเกิดภาวะโลกหลัวในช่วงก่อนปีพ.ศ. 2533 แต่พบสิ่งบ่งชี้ว่าประเทศไทยกำลังเข้าสู่สภาวะโลกหลัวภายหลังปี พ.ศ.2533 เป็นต้นมา ในขณะที่ความหนาเชิงแสงของชั้นละอองลอยซึ่งมีผลบดบังรังสีอาทิตย์ จะเพิ่มขึ้นในบริเวณที่มีปริมาณพืชน้อย จึงมีความเป็นไปได้ในการบรรเทามลภาวะทางอากาศด้วยการบริหารจัดการสิ่งปกคลุมดินในพื้นที่เมือง เกษตรกรรม และพื้นที่ป่า ด้วยการบริหารจัดการพืชที่มีคุณลักษณะและปริมาณที่เหมาะสมในแต่ละบริเวณ |
สาขาการวิจัย |
|