ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง |
การจัดการอ่างเก็บน้ำร่วมกับน้ำบาดาลในเขตโครงการชลประทานแม่กลองใหญ่ |
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง |
ผศ.ดร.อารียา ฤทธิมา |
เจ้าของผลงานร่วม |
ดร.ยุทธนา พันธุ์กมลศิลป์ ,
ดร.ยุทธนา ตาละลักษมณ์ |
คำสำคัญ |
แบบจ้าลองระบบการวางแผนและประเมินสถานการณ์น้า/แบบจ้าลองการไหลของน้าใต้ดิน/แบบจ้าลองการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดิน/ลุ่มน้าแม่กลอง |
หน่วยงาน |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ปีที่เผยแพร่ |
2562 |
คำอธิบาย |
งานวิจัยนี ได้ท้าการพัฒนาแบบจ้าลองระบบน้าผิวดินในลุ่มน้าแม่กลองโดยอาศัยแบบจ้าลองระบบการวางแผนและประเมินสถานการณ์น้า (Water Evaluation and Planning Model, WEAP) เพื่อประเมินสถานะน้าต้นทุนจากแหล่งน้าผิวดินรายเดือนโดยอาศัยข้อมูลอุตุ-อุทกวิทยาในช่วงปี พ.ศ. 2543-2558 ร่วมกับอาศัยแบบจ้าลองการไหลของน้าใต้ดิน (Model of Groundwater Flow, MODFLOW) เพื่อจ้าลองสภาพการไหลและประเมินสถานภาพของน้าใต้ดิน จากนั นท้าการพัฒนาแบบจ้าลองการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินในพื นที่โครงการชลประทานแม่กลองใหญ่ส้าหรับน้าไปใช้ในการบริหารจัดการน้าใต้ดินร่วมกับน้าผิวดินในลุ่มน้าแม่กลองตอนล่างตั งแต่เขื่อนแม่กลองลงมาถึงปากแม่น้าแม่กลอง ทั งนี ได้น้าเสนอรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินโดยอาศัยหลักการหาค่าที่ดีที่สุด ผลจากการจ้าลองระบบน้าผิวดินพบว่าในปัจจุบันลุ่มน้าแม่กลองมีปริมาณน้าต้นทุนเพียงพอกับความต้องการน้าในช่วงฤดูฝน อย่างไรก็ดีปัญหาการขาดแคลนน้าเกิดขึ นบางช่วงเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูแล้งของปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 จากปัจจัยฝนที่มีปริมาณค่อนข้างน้อย ผลการจ้าลองสภาพการไหลของน้าใต้ดินในพื นที่ศึกษาพบว่าปริมาณการสูบน้าใต้ดินไปใช้คิดเป็น 347.92 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี หรือคิดเป็น 5.68% ของปริมาณความต้องการน้าเพื่อการเกษตรกรรม โดยมีอัตราการสูบน้าจากบ่อสูบน้าของรัฐและบ่อสูบน้าของเอกชนคิดเป็น 251.54 และ 320.67 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ตามล้าดับ ผลจากแบบจ้าลองการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินพบว่ามีโอกาสความเป็นไปได้ในการน้ารูปแบบการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในพื นที่ศึกษาเพื่อเพิ่มปริมาณการใช้น้าใต้ดินโดยเฉพาะในเขตพื นที่โครงการชลประทานแม่กลองใหญ่ฝั่งซ้ายที่มีศักยภาพน้าต้นทุนจากแหล่งน้าใต้ดินสูงกว่าฝั่งขวาตามปัจจัยลักษณะของชั นหินอุ้มน้าใต้ดิน สภาพการไหลและทิศทางการไหลของน้าใต้ดินในพื นที่ ในขณะเดียวกันสัดส่วนการใช้น้าใต้ดินปัจจุบันยังมีปริมาณค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับปริมาณการใช้น้าผิวดินจากระบบคลองชลประทาน นอกจากนี การวางแผนการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินในอนาคตโดยการเพิ่มอัตราการสูบน้าใต้ดินในช่วงตั งแต่ 24.00-26.41 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณความต้องการน้าเพื่อการชลประทานปัจจุบันยังส่งผลต่อการลดลงของระดับน้าใต้ดินไม่มากนัก กล่าวคือ การก้าหนดค่าอัตราการสูบน้าใต้ดินเพิ่มสูงขึ น 20% ของอัตราการสูบน้าใต้ดินปีปัจจุบันท้าให้ระยะน้าลดเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ นในช่วงตั งแต่ 0.01-0.08 เมตร เท่านั น ยิ่งไปกว่านั นหากพิจารณาในมุมมองทางด้านเศรษฐศาสตร์ของการวางแผนการจัดการน้าผิวดินร่วมกับน้าใต้ดินในอนาคต พบว่าต้นทุนเฉลี่ยในฤดูแล้งและฤดูฝนของการใช้น้าผิวดินและน้าใต้ดินร่วมกันเพื่อการชลประทานมีค่าอยู่ระหว่าง 0.18-0.86 และ 0.19-0.43 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ตามล้าดับ ซึ่งน้อยกว่าการพิจารณาต้นทุนในมุมมองของการจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินแบบแยกส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นทุนด้าเนินการผันแปรของการใช้น้าใต้ดินเพียงอย่างเดียวสูงถึง 6.50 บาทต่อลูกบาศก์เมตร |
สาขาการวิจัย |
|