- พิมพ์วดี รุ่งเรืองยิ่ง
- 553 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การศึกษาอัตลักษณ์ของเครื่องเงินบ้านวัวลายเพื่อใช้ในการออกแบบเครื่องประดับเงิน ตามความชอบของกลุ่มลูกค้าชาวจีนในแหล่งท่องเที่ยวล้านนา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | สมลักษณ์ วรรณฤมล กีเยลาโรว่า |
เจ้าของผลงานร่วม | ดรณ์ สุทธิภิบาล , เขมรัฐ จันทร์คำ , สุนิษา แสนศรี , ประภัสสร ประดุจพงษ์เพชร์ , เฉลิมรัฐ วาวงศ์มูล |
คำสำคัญ | อัตลักษณ์;บ้านวัวลาย;การออกแบบเครื่องประดับ;เครื่องประดับเงิน |
หน่วยงาน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | การศึกษาการผลิตเครื่องเงิน โดยการสัมภาษณ์ช่างฝีมือ นำข้อมูลมาออกแบบเซตเครื่องประดับเงิน คัดเลือกเซตเครื่องประดับที่ออกแบบขึ้นใหม่ จากการสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวชาวจีน พบลวดลายบนเครื่องประดับเงินบ้านบัวลาย ได้แก่ ลวดลายดอกกระถิน ลวดลายแส้ ลวดลายพุทธประวัติ ลวดลายวรรณคดีไทย ลวดลายวิถีชีวิตไทย ลวดลายพม่า ลวดลายช้าง ลวดลายสิบสองราศี ลวดลายดอกพิกุล จากการตอบแบบสอบถามของนักท่องเที่ยวชาวจีน พบว่า ลวดลายที่ชาวจีนชื่นชอบ คือ ลวดลายช้าง ร้อยละ 52 รองลงมา คือ ลวดลายกระถิน ร้อยละ 11 นักท่องเที่ยวชาวจีนนิยมเครื่องประดับที่มีขนาดเล็ก สีสันสดใส และมีความร่วมสมัย |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/1952 |
สาขาการวิจัย |
|
การศึกษาอัตลักษณ์ของเครื่องเงินบ้านวัวลายเพื่อใช้ในการออกแบบเครื่องประดับเงิน ตามความชอบของกลุ่มลูกค้าชาวจีนในแหล่งท่องเที่ยวล้านนา is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.