การพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงและสกัดถั่งเช่าเพื่อเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและยา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา น้อยสา
- 316 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์ : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ณัฐธิดา สุขสาย |
เจ้าของผลงานร่วม | ณัฐพร รัฐบำรุง , พักตร์วิภา สุวรรณพรหม , หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล |
คำสำคัญ | การใช้ยาปฏิชีวนะในการเกษตร;ฟาร์มปศุสัตว์;การใช้ยาสมเหตุสมผล;การดื้อยาปฏิชีวนะ |
หน่วยงาน | ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรร้อยละ 76 ประกอบอาชีพเลี้ยงโคนม สุกร โคเนื้อ ไก่พื้นเมือง ไก่ไข่ และกระบือ ในสัตว์ทุกประเภทที่ศึกษา เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์มากกว่าร้อยละ 80 มีการใช้ยาปฏิชีวนะตลอดวงจรการเลี้ยงสัตว์ ยาปฏิชีวนะที่มีการใช้มากที่สุด คือ oxytetracycline (ร้อยละ 57) ผู้ให้ยาปฏิชีวนะแก่สัตว์ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรเองไม่ใช่บุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับยาปฎิชีวนะ เกษตรกรใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลหลายกรณี ได้แก่ ใช้ไม่ตรงตามข้อบ่งใช้และใช้มากเกินจำเป็น เช่น การใช้ยา colistin เพื่อเป็นวิตามินบำรุงลูกสุกร เนื่องมาจากเกษตรกรรับรู้ว่า ยาปฏิชีวนะดังกล่าวคือ วิตามินบำรุงสัตว์ นอกจากนี้ยังมีการใช้ยาปฏิชีวนะในขนาดต่าง ๆ เป็นระยะเวลานาน ก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาได้ เช่น การใช้ยา oxytetracycline |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://tjpp.pharmacy.psu.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/59-20final.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
การใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์ : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.