ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การประเมินความหลากหลายของทุเรียนพื้นบ้านเพื่อการคัดเลือก อนุรักษ์และขยายพันธุ์ กรณีศึกษา อำเภอเมือง อำเภอทุ่งตะโก อำเภอหลังสวนและอำเภอสวี จังหวัดชุมพร |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ผศ.ดร. อุษณีษ์ พิชกรรม |
เจ้าของผลงานร่วม | ดร. ศศิวิมล แสวงผล , ดร. วิษุวัต สงนวล , ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม , ดร. ครรชิต จุดประสงค์ , ดร. ปิยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ |
คำสำคัญ | พันธุ์พื้นบ้าน;ชุมพร;การประเมินคุณภาพผล;คุณค่าทางโภชนาการ;สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ;สารต้านอนุมูลอิสระ;สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์;การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช;เชื้อพันธุกรรม;เครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์;การประเมินพันธุกรรม;durian;ทุเรียน;Durio spp;local cultivar;Chumphon;fruit quality evaluation;nutritive value;bioactive compound;antioxidant activity;geographic indication;plant genetic conservation;germplasm;microsatellite markers;genetic evaluation |
หน่วยงาน | ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 272 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. 10400 โทรศัพท์ 0 2201 5232 Email: aussanee.pic@mahidol.ac.th |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | การสำรวจรวบรวมและประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของทุเรียนพื้นบ้านจาก 4 อำเภอในจังหวัดชุมพร เพื่อค้นหาศักยภาพของพันธุ์พื้นบ้านที่โดเด่น งานวิจัยได้รับข้อมูลคุณภาพผล คุณค่าทางโภชนาการและลายพิมพ์ชีวโมเลกุลเพิ่มเติมในฐานข้อมูลพันธุกรรมทุเรียนของประเทศไทย พร้อมหนังสือภาพ 54 พันธุ์ทุเรียนพื้นบ้านจากชุมพร และพบพันธุ์ที่เหมาะต่อการบริโภคสด 7 พันธุ์ ที่สามารถนำไปใช้สร้างความเข้มแข็งของชุมชนผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวและการค้า และได้วิธีการระบุพันธุ์ในรูปแบบบาร์โค๊ดเพื่อใช้ระบุเอกลักษณ์พันธุ์ของทุเรียนไทย |
สาขาการวิจัย |
|
การประเมินความหลากหลายของทุเรียนพื้นบ้านเพื่อการคัดเลือก อนุรักษ์และขยายพันธุ์ กรณีศึกษา อำเภอเมือง อำเภอทุ่งตะโก อำเภอหลังสวนและอำเภอสวี จังหวัดชุมพร is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.