การย่อยสลายทางชีวภาพของซัลฟาเมท็อกซาโซลโดยเชื้อราที่ผลิตเอนไซม์กลุ่มลิกนิโนไลติกที่แยกได้ในประเทศไทย
- พิชญา ปิยะวิริยะกุล
- 333 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การสกัดน้ำมันจากกากมะพร้าวหลังคั้นกะทิโดยใช้เอทานอลและการวิเคราะห์สมบัติ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ณัชชา ภิรักจรรยากุล |
เจ้าของผลงานร่วม | ผศ.ดร.อุทัย กลิ่นเกษร |
คำสำคัญ | กากมะพร้าวหลังคั้นกะทิ;เอทานอล;การสกัดน้ำมัน |
หน่วยงาน | ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | เอทานอลมีประสิทธิภาพที่ดีในการเป็นตัวทำละลายแทนเฮกเซนในการสกัดน้ำมันจากกากมะพร้าวหลังคั้นกะทิ โดยความชื้นของวัตถุดิบ อัตราส่วนเอทานอลต่อวัตถุดิบ อุณหภูมิ และเวลาในการสกัด มีผลต่อปริมาณน้ำมันที่สกัดได้ สภาวะที่แนะนำในการสกัดน้ำมันจากงานวิจัยนี้ คือ ความชื้นกากมะพร้าวหลังคั้นกะทิร้อยละ 6.61 โดยน้ำหนักแห้ง ใช้อัตราส่วนเอทานอลต่อกากมะพร้าวหลังคั้นกะทิ 25 มิลลิลิตรต่อกรัม อุณหภูมิในการสกัดที่ 60 องศาเซลเซียส และใช้เวลาในการสกัด 360 นาที ซึ่งมีความสามารถในการสกัดกลับคืนน้ำมันประมาณร้อยละ 85 โดยน้ำหนัก และได้น้ำมันมะพร้าวที่มีสมบัติและคุณภาพอยู่ในช่วงที่ค่ามาตรฐานกำหนด |
สาขาการวิจัย |
|
การสกัดน้ำมันจากกากมะพร้าวหลังคั้นกะทิโดยใช้เอทานอลและการวิเคราะห์สมบัติ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.