ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อไฟโตพลาสมาที่ก่อโรคในอ้อย และหญ้าบางชนิดของประเทศไทย จากลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S-23S rRNA intergenic spacer region
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ศุจิรัตน์ สงวนรังศิริกุล
เจ้าของผลงานร่วม ธีรวุฒิ วงศ์วรัตน์ , สุนี ศรีสิงห์ , ปิยะดา ธีรกุลพิสุทธิ์
คำสำคัญ ไฟโตพลาสมา;ลำดับนิวคลีโอไทด์;โรคใบขาว
หน่วยงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น
ปีที่เผยแพร่ 2563
คำอธิบาย SCGGS) ผลการตรวจวิเคราะห์และการเรียงลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยโปรแกรม Clustal W เทียบกับฐานข้อมูลสากลของ NCBI พบว่าตัวอย่างที่ไม่แสดงอาการที่แสดงอาการใบขาว-เขียว และที่มีใบขาว จำนวนทั้งสิ้น 48 ตัวอย่าง มีลำดับนิวคลีโอไทด์เหมือนกับ SCWL (HQ917068.1) ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่แสดงอาการใบขาวกอฝอย จำนวน 41 ตัวอย่างนั้นมี 37 ตัวอย่างแสดงลำดับนิวคลีโอไทด์เหมือนกับ SCGS และอีก 4 ตัวอย่างมีความแปรปรวนเมื่อเทียบกับ SCWL และ SCGS และมีความคล้ายกัน 99% ในขณะที่ตัวอย่างที่มี อาการกอตะไคร้จำนวน 6 ตัวอย่างมีลำดับ นิวคลีโอไทด์แตกต่างจาก SCGS และ SCWL จึงคาดว่าน่าจะเป็นอาการของ SCGGS ซึ่งงานวิจัยนี้นับเป็นรายงานครั้งแรกที่แสดงผลลำดับนิวคลีโอไทด์ของไฟโตพลาสมา SCGGS การใช้ข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S-23S ITS ที่ศึกษาทำให้สามารถแบ่งกลุ่มไฟโตพลาสมาในเบื้องต้นได้ ซึ่งนำไปสู่การศึกษายีนอื่น ๆ เพื่อการจำแนกไฟโตพลาสมาที่ก่อโรคในอ้อยในประเทศไทยได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ข้อมูลเพิ่มเติม https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=302.pdf&id=657&keeptrack=16
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์
Creative Commons License


ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อไฟโตพลาสมาที่ก่อโรคในอ้อย และหญ้าบางชนิดของประเทศไทย จากลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S-23S rRNA intergenic spacer region is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.


ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง