ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | เครื่องดักยุงแบบพอเพียง |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | สุนันทา ชูติธวัช |
เจ้าของผลงานร่วม | จารุพิมพ์ พุ่มศรี , อาธัญญา โตติยะ , สุพรรณี แสงสุข , วุฒิพร เมฆาสวัสดิ์วงศ์ |
คำสำคัญ | เครื่องดักยุง |
หน่วยงาน | ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองนครสวรรค์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การออกแบบโครงสร้างเครื่องดักยุงแบบพอเพียง โดยการนำท่อ PVC มาตัดเป็นท่อนและประกอบเป็นโครงสร้าง นำพัดลมดูดอากาศมาติดในส่วนของชั้นที่ 2 ของโครงสร้าง นำหลอดไฟมาติดด้านบนสุดของโครงสร้างและพันหลอดไฟด้วยกระดาษแก้ว และนำผ้ามุ้งมาเย็บตามขนาดของโครงสร้างที่ทำไว้ นำมาติดในส่วนของชั้นที่ 2 ทำการต่อไฟและพัดลมดูดอากาศเข้ากับมอเตอร์ จึงได้เครื่องดักยุงแบบพอเพียง ใช้หลักพลังงานความร้อนจากหลอดไฟฟ้ามาเป็นตัวล่อยุงเปรียบเสมือนอุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ เมื่อยุงได้สัมผัสกับพลังงานความร้อนที่แผ่กระจายจากหลอดไฟ ทำให้ยุงบินเข้ามา เพราะคิดว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่เป็นอาหาร และด้วยหลักการของมวลร่างกายของยุงมีน้อย จึงทำให้ถูกดูดด้วยพัดลมดูดอากาศลงไปในถุงดักยุงได้ง่าย ในชั่วโมงแรกดักจับยุงได้ 3 ตัว ในชั่วโมงที่สองดักจับยุงได้ 17 ตัว และในชั่วโมงที่สามดักจับยุงได้ 32 ตัว โดยเปลี่ยนสถานที่ทดสอบ ประสิทธิภาพในแต่ละชั่วโมง สรุปได้ว่า ในแต่ละชั่วโมงที่จำนวนยุงที่แตกต่างกันนั้นมีสาเหตุมาจากสถานที่ที่แตกต่างกัน |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://lpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/184_5.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
เครื่องดักยุงแบบพอเพียง is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.