ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การพัฒนาวิธีการปลูกเชื้อไวรัสเพื่อประเมินความสามารถในการก่อโรคใบหงิกเหลืองในพริก |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ณัฐทนง บุพิ |
เจ้าของผลงานร่วม | รศ.ดร.รัชนี ฮงประยูร |
คำสำคัญ | โรคใบหงิกเหลืองพริก, จีโนม, ดีเอ็นเอ-เอ, ดีเอ็นเอ-บี;pepper yellow leaf curl disease, genome, DNA-A, DNA-B |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิธีการปลูกเชื้อเบโกโมไวรัสโดย agroinoculation และใช้เชื้อไวรัสใบหงิกเหลืองพริกเป็นต้นแบบ พบว่า มีเปอร์เซ็นต์การก่อโรคในพริก 10 เปอร์เซ็นต์และในยาสูบ 100 เปอร์เซ็น การศึกษาความสามารถในการก่อนให้เกิดโรค infectious clone เชื้อไวรัสใบหงิกเหลืองพริกในพืชทดสอบ แสดงให้เห็นถึงลักษณะอาการที่ชัดเจนของไวรัสใบหงิกเหลืองในกลุ่มเบโกโมไวรัส โดยพริกและยาสูบแสดงอาการใบหงิกเหลืองในแผนการทดลองที่มีการปลูกเชื้อร่วมกันระหว่าง DNA-A และ DNA-B การปลูกเชื้อเฉพาะ DNA-A หรือ DNA-B ไม่ทำให้พริกและยาสูบแสดงอาการของโรค |
สาขาการวิจัย |
|
การพัฒนาวิธีการปลูกเชื้อไวรัสเพื่อประเมินความสามารถในการก่อโรคใบหงิกเหลืองในพริก is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 3.0 Thailand License.