- รองศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ บุญทาวัน
- 476 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ผลของ fungal treatment ต่อการย่อยได้ของโภชนะ กระบวนการหมัก และสมรรถภาพการผลิตของแพะขุน |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ปิ่น จันจุฬา |
เจ้าของผลงานร่วม | วสันณ์ เพชรรัตน์ |
คำสำคัญ | ทางใบปาล์มน้ำมัน;ทางใบปาล์มน้ำมันหมักเชื้อรา;การใช้ประโยชน์ของโภชนะ;สมรรถภาพการเจริญเติบโต;ลักษณะซาก;แพะ |
หน่วยงาน | คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | ผลของทางใบปาล์มน้ำมันที่หมักด้วยเชื้อรา หรือเชื้อเห็ดตีนปลอก ในสูตรอาหารผสมเสร็จ เปรียบเทียบกับทางใบปาล์มน้ำมัน หรือสูตรควบคุม พบว่าสามารถใช้ทางใบปาล์มน้ำมันที่หมักด้วยเชื้อรา (FTOPF) และทางใบปาล์มน้ำมันที่หมักด้วยเชื้อราร่วมกับยูเรีย (FTOPFU) ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อปริมาณการกินอาหารทั้งหมดโดยรวมของอาหาร จึงสามารถใช้ทางใบปาล์มน้ำมันที่หมักด้วยเชื้อราในสูตรอาหารผสมเสร็จของแพะเป็นแหล่งอาหารหยาบได้ในสูตรอาหารได้ระดับ 30% โดยไม่มีผลกระทบต่อการกินได้ การย่อยได้ กระบวนการหมัก และสมดุลไนโตรเจน หรือสมรรถภาพของสัตว์ด้อยลง และศึกษาสมรรถภาพการเจริญเติบโต และคุณภาพซากของแพะ พบว่าน้ำหนักเริ่มต้นการทดลอง น้ำหนักสิ้นสุดการทดลอง น้ำหนักตัวเพิ่ม ปริมาณการกินได้ของอาหารทั้งหมด (วัตถุแห้งปริมาณการกินได้ ของโภชนะต่างๆ (OM, CP, NDF และ ADF) อัตราการเจริญเติบโต และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักเพิ่มของแพะพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://natres.psu.ac.th/office/foreign/res/2016_Oct_FungalTreatment.pdf |
สาขาการวิจัย |
|
ผลของ fungal treatment ต่อการย่อยได้ของโภชนะ กระบวนการหมัก และสมรรถภาพการผลิตของแพะขุน is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.