- สุรินทร์ นิลสำราญจิต
- 975 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบเขียวที่ผลิตในภาคใต้ของประเทศไทย |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | สรพงค์ เบญจศรี |
เจ้าของผลงานร่วม | สกุลกานต์ สิมลา , พัชรี สิริตระกูลศักดิ์ , ฤชุอร วรรณะ , ชฎารัตน์ บุญจันทร์ |
คำสำคัญ | กระเจี๊ยบเขียว;ความพึงพอใจของผู้บริโภค;สัณฐานวิทยา |
หน่วยงาน | มหาวิทยาลัยทักษิณป่าพะยอม จ.พัทลุง |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวใน 8 ลักษณะได้แก่ 1.ความยาวฝัก 2. ขนาดฝัก 3.ผิว (ขน) ของฝัก 4.รูปร่างฝัก 5.สีของฝัก 6.รสชาติ 7.สี และ 8.สารเมือก ผลการทดลองพบว่า การประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นสีฝักและสีต้น ซึ่งมี 3 สี ประกอบด้วย สีเขียวเข้ม สีเขียวอ่อน และสีเขียวปนแดง ลักษณะความพึงพอใจของผู้บริโภค พบว่ากระเจี๊ยบเขียวสายพันธุ์ KN–OYV–02 มีคะแนนสูงสุด รองลงมาคือ สายพันธุ์ลักกี้ไฟล์ 473, พจ. 03, KN – OYV – 11, KN – OYV – 13, TVRC 064, KN – OYV – 16, NO 71, KN – OYV – 03, KN – OYV – 25, KN – OYV – 04, KN – OYV – 14 และสายพันธุ์ PC 52S5 ส่วนกระเจี๊ยบเขียวสายพันธุ์ KN – OYV – 01 และ สายพันธุ์ OP คือ สายพันธุ์ที่ผู้บริโภคมีความพอใจเฉลี่ยน้อยที่สุด |
ข้อมูลเพิ่มเติม | https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=94P-HORT-015.pdf&id=927&keeptrack=8 |
สาขาการวิจัย |
|
ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของกระเจี๊ยบเขียวที่ผลิตในภาคใต้ของประเทศไทย is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.