ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง กิจกรรมสารต้านอนุมูลอิสระของดอกไม้กินได้ 15 ชนิด ในจังหวัดมหาสารคาม
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง พัชรี สิริตระกูลศักดิ์
เจ้าของผลงานร่วม ประสิทธิ์ ชุติชูเดช , เบ็ญจวรรณ ชุติชูเดช , มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย , เกรียงศักดิ์ บุญเที่ยง
คำสำคัญ ดอกไม้กินได้;สารต้านอนุมูลอิสระ;ปริมาณสารพีนอลิคทั้งหมด
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ปีที่เผยแพร่ 2563
คำอธิบาย การศึกษากิจกรรมสารต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลิคทั้งหมดของดอกไม้กินได้ จำนวน 15 ชนิด ได้แก่ 1.ดอกแค (Sesbania grandiflora (L.) Desv.), 2.ดอกผักพาย (Limnocharis flava Buch.), 3.ดอกกระเจียวแดง (Curcuma sessilis Gage.), 4.ดอกกระเจียวขาว (Curcuma parviflora Wall.), 5.ดอกแคนา (Dolichandrone serrulata (DC.) Seem.), 6.ดอกขจร (Telosma minor Craib.), 7.ดอกเสาวรส (Passiflora laurifolia L.), 8.ดอกฟักทอง (Cucurbita moschata Decne.), 9.ดอกข่า (Alpinia galanga (L.) Willd.), 10.ดอกชมจันทร์ (Ipomoea alba L.), 11.ดอกผักโขม (Amaranthus lividus L.), 12.ดอกบวบ (Luffa acutangula (Linn.) Roxb.), 13.ดอกมะรุม (Moringa oleifera Lam.), 14.ดอกผักคออ่อน (Crassocephalum crepidioides (benth.) S. Moore.) และ 15.ดอกส้มลม (Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire.) นำมาวิเคราะห์หากิจกรรมสารต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารฟีนอลิคทั้งหมด พบว่า ดอกกระเจียวแดงมีความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH สูงที่สุด ส่วนดอกส้มลมมีปริมาณสารฟีนอลิคทั้งหมดสูงที่สุด
ข้อมูลเพิ่มเติม https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=102P-HORT-0561.pdf&id=1736&keeptrack=3
กลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ ด้านวิชาการ
สาขาการวิจัย
  • วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
Creative Commons License


กิจกรรมสารต้านอนุมูลอิสระของดอกไม้กินได้ 15 ชนิด ในจังหวัดมหาสารคาม is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.


ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง