ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การพัฒนาต้นแบบการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ สิ่งบ่งชี้ภูมิศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีการจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพความหอมตลอดห่วงโซ่การผลิต |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | นางสาวลัดดา วิริยากูล |
เจ้าของผลงานร่วม | นางสาวดวงใจ สุริยาอรุณโรจน์ , นายสมลักษณ์ มอญขาม , นางกฤษณา สุดทะสาร , นางสาววราภรณ์ วงศ์บุญ , นายธานี ชื่นบาน , นางธิติมา ขันติยวิชย์ , นางสาวกัลยา สามเสน , นางทานตะว้น วรรธนะวัลญช์ , นายสมนึก จงเสริมตระกูล , นายเอกชัย ภักดีรัตน์ , นางสาวสมใจ แก้วสร , ผศ.พนมกร ขวาของ , ผศ.ดร.อภิชาติ อาจนาเสียง , นายสุวิชา สายโพธิ์ , นายกุลวุฒิ จอกน้อย , นายชลวุฒิ กมลเลิศ , นายพิษณุ เหรียญมหาสาร , นายสุทธิศักดิ์ เลาหชีวิน , นางพรทิพย์ ถาวงค์ |
คำสำคัญ | สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์;การผลิตข้าวหอมมะลิ;ทุ่งกุลาร้องไห้;การสร้างความหอมของข้าวหอมมะลิ;การสีแปรสภาพด้วยเทคโนโลยีที่ชะลอการสูญเสียความหอม;การพัฒนาต้นแบบการส่งเสริมตลาด |
หน่วยงาน | กรมการข้าว |
ปีที่เผยแพร่ | 2559 |
คำอธิบาย | โครงการพัฒนาต้นแบบการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้สิ่งบ่งขี้ทางภูมิศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีการจัดการ เพื่อเพิ่มคุณภาพความหอมตลอดห่วงโซ่การผลิต มีวัตถุประสงค์ พัฒนาต้นแบบการผลิตข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพสูงเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิของเกษตรกรในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ พัฒนากระบวนการปลูกด้วยเทคโนโลยีการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อกระตุ้นการสร้างความหอมของข้าวหอมมะลิในช่วงปลูก การสีแปรสภาพด้วยเทคโนโลยีที่ชะลอการสูญเสียความหอม ควบคุมคุณภาพด้วยการยื่นขอการรับรองสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ผลผลิตส่งต่อสู่การพัฒนาต้นแบบการส่งเสริมตลาดเฉพาะ (Niche marker) เพื่อใช้เป็นรูปแบบในการพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิของประเทศไทยให้สามารถเพิ่มศักยภาพทางการตลาดได้อย่างยั่งยืน |
สาขาการวิจัย |
|
การพัฒนาต้นแบบการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ สิ่งบ่งชี้ภูมิศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีการจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพความหอมตลอดห่วงโซ่การผลิต is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.