การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อรา Cryptococcus neoformans แบบรวดเร็ว โดยใช้โมโนโคลนอล แอนติบอดี ชนิด 18B7
- รศ.ดร. สิริดา ยังฉิม
- 345 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การพัฒนาอนุภาคขนาดนาโนอเนกประสงค์สำหรับงานการวินิจฉัยและรักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | นายฤทธี มีสัตย์ |
เจ้าของผลงานร่วม | นางกนกพร บุญศิริชัย , นางวิราณี ศรีเวียง , นางสาวพิมพ์พร อุทยารัตน์ , นางสาวกชพรรณ กาญจนะ , นางสาวศริญญา วงษ์สนิท , นางสาวพิริญา แก้วพุกัม , นายจารุเดช วาดวิไล , นายศิริวัฒน์ ธิดา , นางสาวทิพย์นันท์ งามประหยัด , นางสาวสุดคนึง พุ่มเข็ม , น.สพ.ดร. เกษม รัตนภิญโญพิทักษ์ , นส.วันวิสา สนิทเชื้อ |
คำสำคัญ | metal nanoparticles;multifunctional;theranostics;drug targeting;cancer;nanomedicine;targeted therapy;radiophamaceutical |
หน่วยงาน | ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02 562 5444 ต่อ 1211 |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
คำอธิบาย | รังสีมีบทบำทที่สำคัญสำหรับกำรรักษำและวินิจฉัยมะเร็ง กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรรังสีรักษำและวินิจฉัยสำมำรถพัฒนำได้ด้วยอนุภำคทองขนำดนำโน ในงำนวิจัยนี้ให้ควำมสำคัญกับกำรสังเครำะห์อนุภำคทองขนำดนำโนที่เคลือบผิวด้วย พอลิเอทิลีนไกลคอล คำร์บอกซิล ศึกษำกำรเชื่อมต่อกับสำรเภสัชรังสี และศึกษำผลทำงชีววิทยำด้วยสัตว์ทดลอง ผลกำรวิจัยพบว่ำสำมำรถสังเครำะห์อนุภำคทองขนำดนำโนด้วยเทคนิคทำงรังสีและเคมี อนุภำคทองมีแนวโน้มที่ใช้เป็นสำรทึบรังสีสำหรับ MRI และ X-ray CT ได้ นอกจำกนี้อนุภำคทองที่มีกำรเชื่อมต่อแล้วมีควำมจำเพำะกับเซลล์มะเร็ง แต่ไม่มีควำมเป็นพิษในสัตว์ทดลอง มีอัตรำกำรคงอยู่และขับออกจำกร่ำงกำยของสัตว์ทดลอง ซึ่งมีแนวโน้มที่ดีสำหรับใช้เป็นกำรนำส่งยำเพื่อกำรรักษำและวินิจฉัย |
สาขาการวิจัย | - |
การพัฒนาอนุภาคขนาดนาโนอเนกประสงค์สำหรับงานการวินิจฉัยและรักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.