ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง พรรณไม้ที่กินได้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง บุญสนอง ช่วยแก้ว
เจ้าของผลงานร่วม วุฒิชัย ฤทธิ , ญาณพัฒน์ พรมประสิทธิ์ , คงฤทธิ์ ติณะรัตน์ , ชลธิชา นามสละ , นันทนา เล็กน้อย , พีรพล บงค์บุตร
คำสำคัญ พรรณไม้ที่กินได้;มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ปีที่เผยแพร่ 2561
คำอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีในอดีตเป็นพื้นที่แห้งแล้งและดินเค็ม พืชพรรณดั้งเดิม ได้แก่ หว้า ตะโกนา และมะขามเทศ เมื่อแรกสร้างวิทยาลัยครูเพชรบุรี มีการปลูกไม้โตเร็วที่ทนสภาพแห้งแล้งและดินเค็ม เช่น นนทรี และจามจุรี ต่อมามีการนำพืชชนิดอื่น เช่น สะเดา และตาลโตนด เข้ามาปลูก ปัจจุบันดินในมหาวิทยาลัยมีสภาพดีขึ้น มีการนำไม้ผล ไม้ดอกและไม้ประดับ เข้ามาปลูกเพิ่มขึ้นมากมายหลายชนิด ในบรรดาพืชเหล่านี้ มีพืชจำนวนหนึ่งที่ใช้เป็นอาหารได้ ซึ่งในวิถีชีวิตคนไทยผักที่ใช้ประกอบอาหารมีอยู่มากมายรอบบ้าน ในที่รกร้างว่าง
ข้อมูลเพิ่มเติม http://khajornsak.net/rspg2558/pdf/5_Poster/P02.pdf
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์
Creative Commons License


พรรณไม้ที่กินได้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.


ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง