ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การสลายคอร์ปัส ลูเทียม พัฒนาการของฟอลลิเคิลและคุณภาพของโอโอไซต์ในโคลูกผสมบราห์มัน: ผลของการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาและการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนเอฟเอสเอช |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ณัฐวุฒิ กกรัมย์ |
เจ้าของผลงานร่วม | รองศาสตราจารย์ไชยณรงค์ นาวานุเคราะห์ |
คำสำคัญ | การสลายคอร์ปัส ลูเทียม;พัฒนาการของฟอลลิเคิล;โคลูกผสมบราห์มัน;การผสมเทียมแบบกำหนดเวลา |
หน่วยงาน | สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | การใช้ฮอร์โมน PGF2α 2 ครั้ง ของโปรแกรม 5-day Co-Synch ส่งผลให้ความเข้มข้นของฮอร์โมน E2 สูงกว่าโปรแกรม 7-day Co-Synch และสามารถเพิ่มอัตราการผสมติดในโคสาวบราห์มันลูกผสมได้ ซึ่งจะส่งผลให้โคสาวบราห์มันลูกผสมมีความสมบูรณ์พันธุ์มากยิ่งขึ้น และโปรแกรมการกระตุ้นการตกไข่หลายใบด้วยการฉีด FSH ติดต่อกัน 3 วัน สามารถเพิ่มคุณภาพของโอโอไซต์และการรอดชีวิตของเอมบริโอในโคลูกผสม บราห์มันลูกผสมได้ |
สาขาการวิจัย |
|
การสลายคอร์ปัส ลูเทียม พัฒนาการของฟอลลิเคิลและคุณภาพของโอโอไซต์ในโคลูกผสมบราห์มัน: ผลของการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาและการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนเอฟเอสเอช is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.