- รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์
- 544 ครั้ง
ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | ปัจจัยเชิงพื้นที่ที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืนในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | วิภาวี ฟักสุขจิตต์ |
เจ้าของผลงานร่วม | ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท์ |
คำสำคัญ | การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล;ปัจจัยเชิงพื้นที่ |
หน่วยงาน | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปีที่เผยแพร่ | 2563 |
คำอธิบาย | ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืนในจังหวัดฉะเชิงเทราแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ปัจจัยที่ส่งเสริมให้สภาพทางกายภาพมีศักยภาพที่เหมาะสม ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ ทำเลที่ตั้ง คุณสมบัติของน้ำ คุณสมบัติของดิน โครงข่ายถนน และปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดทางด้านนิเวศวิทยา ได้แก่ เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม และแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ที่ควรสงวนรักษาไม่ให้ถูกทำลาย โดยพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอยู่บริเวณใกล้ปากอ่าว และริมฝั่งแม่น้ำบางปะกง จึงกล่าวโดยสรุปได้ว่า ปัจจัยทั้ง 2 ประการ เป็นปัจจัยเชิงพื้นที่ที่มีศักยภาพที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน อีกทั้งในปัจจุบันได้มีระบบการจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน หากเกษตรกรปฏิบัติตามก็จะก่อให้เกิดการเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน โดยไม่ทำลายระบบนิเวศ |
ข้อมูลเพิ่มเติม | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42475 |
สาขาการวิจัย |
|
ปัจจัยเชิงพื้นที่ที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืนในจังหวัดฉะเชิงเทรา is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.