ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง ความหลากหลายของลักษณะสัณฐานวิทยาและสารพฤกษเคมีในหนอนตายหยาก (Stemona aphylla Craib) ในประเทศไทย
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง ดร.สุเมธ คงเกียรติไพบูลย์
เจ้าของผลงานร่วม นางสาวปาจรีย์ อินทะชุบ , นางสาวงามพักตร์ ทายะนา , นายวิชญสิทธิ์ อินทกุศล
คำสำคัญ หนอนตายหยาก;ประเทศไทย
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีที่เผยแพร่ 2560
คำอธิบาย แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด 1. ชื่อผลงาน/โครงการ ความหลากหลายของลักษณะสัณฐานวิทยาและสารพฤกษเคมีในหนอนตายหยาก (Stemona aphylla Craib) ในประเทศไทย 2. ชื่อผลงาน/โครงการ Morphological and Phytochemical Diversity of Stemona aphylla Craib (Stemonaceae) in Thailand 3. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย ดร.สุเมธ คงเกียรติไพบูลย์ และคณะ 4. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย Dr. Sumet Kongkiatpaiboon et al. 5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ศูนย์วิจัยค้นคว้าและพัฒนายา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12121 เบอร์โทร 089-9212901, 02-5643089-91 ต่อ 77040 อีเมล์ s_u_m_e_t@hotmail.com, sumet_k@tu.ac.th 6. ชื่อหน่วยงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 7. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ 2560 8. คำค้น keyword หนอนตายหยาก, สารพฤกษเคมี, แอลคาลอยด์ Stemona aphylla, Stemona, Stemonaceae, Phytochemical, Alkaloids 9. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพร่ผลงานฉบับเต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีให้ เว้นว่างไว้) 10. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว 11 คำอธิบาย 5 บรรทัด (font Tohoma ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่าย ๆ เข้าใจได้ง่ายซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ) หนอนตายหยาก (Stemona aphylla Craib) ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรพื้นบ้านที่มีการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย แม้ว่าจะมีลักษณะสัณฐานวิทยาเหมือนกัน แต่พบความแตกต่างกันในด้านของสารพฤกษเคมีที่เป็นองค์ประกอบ โดยสามารถพบว่าสารสำคัญหลักมีความแตกต่างกันในแต่ละประชากรของหนอนตายหยาก ในขณะที่ภายในประชากรเดียวกัน ไม่พบความแตกต่างด้านชนิดของสารที่เป็นองค์ประกอบ ทำให้การประโยชน์จากหนอนตายหยาก จำเป็นต้องระบุถึงแหล่งประชากรที่มีสารออกฤทธิ์ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญ
สาขาการวิจัย
  • เกษตรศาสตร์

ภาพที่เกี่ยวข้อง

เรื่องที่เกี่ยวข้อง