ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่อง | การประเมินและการลดความเสี่ยงการตกค้างของสารเคมี และการปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรค ในห่วงโซ่อุปทานสินค้าสัตว์น้ำเศรษฐกิจ |
---|---|
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่ง | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราพร รุ่งเลิศเกรียงไกร |
เจ้าของผลงานร่วม | สุภาน้อย ทรัพย์สินเสริม , ดร.ชุติมา ขมวิลัย , ดร.ธิดาพร ฉวีภักดิ์ , อาภรณ์ เทพพานิช , กัลยาณี ทีปะปาล , วีณา ตุงชีพ , จุฑา มุกดาสนิท , นันทิภา พันธุ์สวัสดิ์ , มิตรา บุญบำรุง , จีรภา หินซุย , วันชัย วรวัฒนเมธีกุล , เมธี แก้วเนิน , กิ่งเดือน สมจิตต์ , เยาวภา ไหวพริบ , ลินดา แซ่ลก , หัทยา ลีฬหสกุลชัย , ผศ.ดร. พงษ์เทพ วิไลพันธ์ , ดร. จีรวรรณ มณีโรจน์ , ดร. เปรมวดี เทพวงศ์ , ผศ.ดร. ปัทมา ระตะนะอาพร , กนกพรรณ ศรีมโนภาษ , เรณุกา นิธิบุณยบดี , นายกฤษณะ จันทร์ปรางค์ |
คำสำคัญ | การตกค้าง ยาปฏิชีวนะ กุ้งขาวแวนนาไม สัตว์น้ำ ฟอร์มาลดีไฮด์ การลด การล้าง การแปรรูป น้ำปลา คลอสตริเดียม บอทูไลนัม ปลากะตัก ฮีสตามีน กระบวนการหมัก หอยสองฝา Vibrio cholerae, Vibrio parahaemolyticus, Vibrio vulnificus, การปนเปื้อนเชิงปริมาณ |
หน่วยงาน | ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ปีที่เผยแพร่ | 2562 |
คำอธิบาย | เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและยกระดับในด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหารสัตว์น้ำ จึงได้ศึกษา 1) การตกค้างของยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม 2) ปริมาณฟอร์มาลดีไฮด์ในสัตว์น้ำ 3) การปนเปื้อนคลอสตริเดียม บอทูไลนัม และ ฮีสตามีนในปลากะตักและน้ำปลา และ 4) การปนเปื้อนจุลินทรีย์กลุ่ม Vibrio spp. ในหอยสองฝา ซึ่งผลการศึกษาที่ได้รับ จะเป็นข้อมูลเพื่อให้หน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบการ และนักวิจัย นำไปถ่ายทอด กำหนดมาตรการควบคุม และเกิดการบังคับใช้กฎหมายต่อไป |
สาขาการวิจัย |
|